คู่มือการใช้งานเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Manual
คู่มือการบำรุงรักษา
สำหรับ
เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ
“TSURUMI” SUBMERSIBLE EJECTOR / AERATOR
การใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ “ซูรูมิ”
เพื่อให้เครื่องเติมอากาศใต้น้ำอยู่ในสภาพที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนเริ่มเดินเครื่องเติมอากาศ ควรศึกษาคู่มือฉบับนี้ก่อนให้เข้าใจและโปรดปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ตามคำแนะนำ
ถ้าหากมีปัญหาประการใด โปรดสอบถาม ฝ่ายบริการซูรูมิของทางห้างฯ ได้
1. ส่วนประกอบของเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ
EJECTOR (BER Series)
AERATOR (TR/TRN Series)
ข้อมูลจำเพาะของเครื่องเติมอากาศ
Name | Model | DIA. Of AirPipe (mm) | Phase | Starting Method |
Output (kw) |
AirEmission (m3/h) |
Water Depth (m) |
Water DepthLimit (m) |
Weight (kg) |
EJECTOR | 8-BER2 | 25 | 3 | Direct-on-line | 0.75 | 11/9 | 3 | 4 | 28 |
15-BER2 | 32 | 3 | Direct-on-line | 1.5 | 28/24 | 3 | 4 | 45 | |
22-BER4 | 50 | 3 | Direct-on-line | 2.2 | 45/38 | 3 | 4.5 | 75 | |
37-BER4 | 50 | 3 | Direct-on-line | 3.7 | 80/70 | 3 | 5 | 91 | |
55-BER4 | 50 | 3 | Direct-on-line | 5.5 | 120/105 | 3 | 6 | 151 | |
AERATOR | 8-TR2 | 32 | 3 | Direct-on-line | 0.75 | 11 | 3 | 3.2 | 60 |
15-TR2 | 32 | 3 | Direct-on-line | 1.5 | 25 | 3 | 3.2 | 70 | |
22-TR2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 2.2 | 36 | 3 | 3.6 | 170 | |
37-TR2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 3.7 | 60 | 3 | 3.6 | 180 | |
55-TR2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 5.5 | 90 | 3 | 3.6 | 220 | |
75-TR2 | 80 | 3 | Direct-on-line | 7.5 | 125 | 3 | 4.1 | 240 | |
110-TR2 | 80 | 3 | Star-Delta | 11 | 200 | 3 | 4.7 | 280 | |
150-TR2 | 80 | 3 | Star-Delta | 15 | 260 | 3 | 4.7 | 290 | |
190-TR2 | 100 | 3 | Star-Delta | 19 | 330 | 3 | 5 | 520 | |
220-TR | 100 | 3 | Star-Delta | 22 | 400 | 3 | 5 | 530 | |
8-TRN2 | 32 | 3 | Direct-on-line | 0.75 | 8 | 3 | 3.2 | 60 | |
15-TRN2 | 32 | 3 | Direct-on-line | 1.5 | 22 | 3 | 3.2 | 70 | |
22-TRN2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 2.2 | 32 | 3 | 3.6 | 170 | |
37-TRN2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 3.7 | 54 | 3 | 3.6 | 180 | |
55-TRN2 | 50 | 3 | Direct-on-line | 5.5 | 80 | 3 | 3.6 | 220 | |
75-TRN2 | 80 | 3 | Direct-on-line | 7.5 | 112 | 3 | 4.1 | 240 | |
110-TRN2 | 80 | 3 | Star-Delta | 11 | 175 | 3 | 4.7 | 280 |
2. การตรวจสอบก่อนใช้งาน
2.1 ตรวจสภาพเครื่องเติมอากาศจนแน่ใจว่าไม่มีส่วนใดชำรุดเสียหาย เนื่องจากการขนส่งหรือ การติดตั้งเครื่องเติมอากาศ
2.2 ห้ามทิ้งปลายสายไฟลงน้ำ หรือ ยกตัวเครื่องเติมอากาศด้วยสายไฟที่ติดมากับตัวเครื่องเติมอากาศ ซึ่งอาจทำให้น้ำเข้าเครื่องเติมอากาศ หรือทำให้สายไฟขาด และจะเป็นสาเหตุทำให้มอเตอร์ไหม้ได้
3. การเดินเครื่อง
3.1 การต่อขั้วสายไฟ ตามตารางด้านล่าง สายไฟจากตัวมอเตอร์จะเป็นดังนี้
สาย U, Z | สีแดง |
สาย V, X | สีขาว |
สาย W, Y | สีดำ |
สายดิน G | สีเขียว |
สาย Motor Protector (MTP) | สีเหลือง |
สายจาก Leake Sensing Electrode | สีขาว (ขนาดเล็ก) |
รูปแสดง ขั้วต่อสายไฟของเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ
สตาร์ทแบบ Direct-on-line (7.5 kw. หรือ ต่ำกว่า)
สตาร์ทแบบ Star-Delta (11 kw. ขึ้นไป)
Star-Delta และมีหลักการทำงานคล้าย CTP ตัดการทำงาน ของมอเตอร์ด้วยความร้อน โดยจะส่งสัญญาณให้ไปตัดวงจรการทำงานของมอเตอร์ที่ตู้ควบคุมไฟฟ้า ถ้าต้องการให้ทำงาน ต้องกดปุ่ม RUN,ON ที่ตู้ควบคุม (ก่อนที่จะสตาร์ทมอเตอร์ ควรจะตรวจสอบว่ามีสาเหตุอะไรที่ทำให้มอเตอร์เกิดความร้อนสูง)
4. การตรวจสภาพเครื่องเติมอากาศ
ระยะที่ต้องตรวจ และหลักการตัดสินว่าเครื่องเติมอากาศทำงานปกติหรือไม่ ในระหว่างการทดสอบในสถานที่ใช้งาน (Field Test) หรือการทำงานประจำวัน มีดังต่อไปนี้
4.1 ตรวจสอบระบบหล่อลื่นน้ำมัน ตรวจสภาพทุกๆ 6 เดือน และเปลี่ยนทุกๆ 1 ปี ถอด Oil Plugของเครื่องเติมอากาศ เทน้ำมันออก ถ้าพบว่ามีน้ำผสมอยู่ในน้ำมัน (สังเกตได้โดยน้ำมันจะมีสภาพผิดปกติ) ซีลของเพลามีความจำเป็นต้องเปลี่ยน ถ้าน้ำมันที่เทออกมาแล้วอยู่ในสภาพปกติ ให้เติมน้ำมันใหม่ในปริมาณที่กำหนดไว้ แล้วทำการอุดด้วย Oil Plug
(น้ำมันที่ใช้Turbine Oil ISO VG 32) ให้เปลี่ยนซีลยาง (O-Ring) ของ Oil Plug ด้วยถ้าพบว่าชำรุด
4.2 ถ้าสมรรถนะของตัวเครื่องเติมอากาศลดลง อาจจะเป็นเพราะว่าใบพัดของตัวเครื่องเติมอากาศสึกกร่อน หรือมีขยะอุดตันที่ใบพัด ถ้าเป็นเช่นนี้ให้ถอดใบพัดและเอาขยะที่อุดตันออก
4.3 การตรวจสอบเครื่องเติมอากาศ และระบบท่อส่ง
4.3.1 ตรวจเครื่องเติมอากาศ : ตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง และทำงานตามที่ระบุไว้ที่เครื่อง
4.3.2 ตรวจใบพัดของเครื่องเติมอากาศ : ไม่ตันและไม่สึกกร่อน
5. การตรวจสอบระบบไฟฟ้า (ตามปกติ)
5.1 ตรวจแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า ว่าจ่ายแรงดันและกระแสไฟฟ้าตามปกติหรือไม่
5.2 ตรวจขนาดของฟิวส์ได้ตามขนาดที่ต้องการหรือไม่ ควรมีฟิวส์สำรองไว้ในตู้ควบคุม
5.3 ตรวจขนาดและค่าต่างๆ ของอุปกรณ์ภายในตู้ควบคุม ตั้งได้ค่าและตำแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ (เช่น พวกเทอร์มอล รีเลย์ ฯลฯ)
5.4 ตรวจสภาพของฉนวนไฟฟ้าของขดลวดพันมอเตอร์โดยใช้ Megger Tester ให้ถอดสายไฟฟ้าของตัวเครื่องเติมอากาศออกจากตู้ควบคุมก่อนทำการตรวจวัดทุกครั้ง โดยวัดสภาพของฉนวนระหว่างสายไฟฟ้ากับสายดิน ค่าที่วัดได้ต้องมีค่าตั้งแต่ 10 Megohm ขึ้นไป มอเตอร์จึงจะอยู่ในสภาพใช้งานได้ ถ้าค่าที่วัดได้ต่ำกว่า 10 Megohm จะต้องทำการถอด Motor และทำการซ่อมแซม การตรวจสภาพฉนวนไฟฟ้า ควรตรวจทุก 3 เดือน
6. ลักษณะการกระจายอากาศ
AERATOR
Model | Main converction | Sub-convection flow | Water depth limit (m) |
8-TR2 | 1.2 | 2.0 | 3.2 |
15-TR2 | 1.5 | 2.5 | 3.2 |
22-TR2 | 2.5 | 5.0 | 3.6 |
37-TR2 | 3.0 | 6.0 | 3.6 |
55-TR2 | 3.5 | 7.0 | 3.6 |
75-TR2 | 4.5 | 9.0 | 4.1 |
110-TR2 | 5.0 | 10.0 | 4.7 |
150-TR2 | 5.5 | 11.0 | 4.7 |
190-TR2 | 6.0 | 12.0 | 5.0 |
220-TR2 | 6.0 | 12.0 | 5.0 |
8-TRN2 | 1.0 | 1.8 | 3.2 |
15-TRN2 | 1.4 | 2.4 | 3.2 |
22-TRN2 | 2.3 | 4.7 | 3.6 |
37-TRN2 | 2.8 | 5.7 | 3.6 |
55-TRN2 | 3.3 | 6.7 | 3.6 |
75-TRN2 | 4.3 | 8.6 | 4.1 |
110-TRN2 | 4.8 | 9.6 | 4.7 |
EJECTOR
Model | Tank Dimension | ||
Max. Length (m) | Max. Width (m) | Water Depth limit (m) | |
8-BER | 3 | 2 | 4 |
15-BER | 4 | 3.5 | 4 |
22-BER | 5 | 5 | 4.5 |
37-BER | 6 | 6 | 5 |
55-BER | 7 | 7 | 6 |
7. ปริมาณน้ำมันภายใน OIL CHAMBER
Model | Oil Quantity (mi) |
8-BER | 420 |
15-BER2 | 900 |
22-BER, 37-BER4 | 1,450 |
55-BER4 | 4,300 |
8-TR2, 15TR2 8-TRN2, 15-TRN2 |
1,700 |
22-TR2, 37TR2 22-TRN2, 37-TRN2 |
6,000 |
55-TR2, 75TR2, 110-TR2 55-TRN2, 75-TRN2, 110-TRN2 |
6,000 |
150-TR2 | 6,000 |
190-TR, 220-TR | 10,000 |
รูปแสดง ตำแหน่ง OIL
น้ำมันหล่อลื่นที่ใช้
MOBIL | DTE OIL LIGHT |
SHELL |
TURBO OIL T32 |
ESSO | TURBINE OIL L |
8. เหตุขัดข้องและวิธีแก้ไข EJECTOR, AERATOR
ข้อผิดพลาด | สาเหตุ | วิธีแก้ไข |
มอเตอร์ไม่หมุน |
|
|
EJECTOR, AERATOR หยุดทำงาน |
|
|
EJECTOR, AERATOR เติมอากาศได้น้อย |
|
|
รูปแสดง ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องเติมอากาศ
EJECTOR (BER)
รูปแสดง ส่วนต่างๆ ของเครื่องเติมอากาศ
AERATOR (TR, TRN)
- ดังรูป เป็นแนวทางในการถอดชุด IMPELLER SUCTION COVER ในการเอาสิ่งสกปรกออก
- ห้อง OIL CHAMBER และห้อง MOTOR ทางบริษัทฯ ไม่แนะนำให้ถอดออก เนื่องจากลักษณะการถอดต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ
- คู่มือการบำรุงรักษาสำหรับเครื่องสูบน้ำเสีย “TSURUMI” SUBMERSIBLE PUMPการใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำเสีย “ซูรูมิ” เพื่อให้เครื่องสูบน้ำเสียแบบจุ่มใต้น้ำอยู่ในสภาพที่สามารถใ...
- ออกแบบง่ายๆแต่สูงด้วยคุณภาพ • จุดต่อสายไฟ (Cable Entry) สายไฟที่เชื่อมต่อกับตัวปั๊มจะมีตัวบล็อค เพื่อป้องกันการดูดซึมน้ำเข้าสู่สายไฟ โดยกลไกส่วนนี้เป็นส่วนที่ประกอบด้วยยางที่หล่อ...
- ลักษณะใบพัดหลักปั๊มซูรูมิCHANNEL ใบพัดเป็นแบบกึ่งเปิด (Semi-open) ที่มีใบพัดเดี่ยวโดยมีช่องกว้างที่ต่อเชื่อมจากทางเข้าถึงทางออก โครงสร้างใบพัดลักษณะนี้จะช่วยให้ปั๊มสามารถสูบตะกอนจ...
- ระบบติดตั้งเครื่องสูบน้ำเสียแบบมีรางเลื่อน (Guide Rail Fitting System)สามารถเชื่อมต่อเครื่องสูบน้ำกับท่อน้ำเสีย ทั้งท่อส่งน้ำเสีย และท่อรับน้ำเสียได้เพียงแค่หย่อนเครื่องสูบน้ำลงไ...
- รุ่นอัตโนมัติ (Automatic Models) รุ่นอัตโนมัติ จะมีระบบวงจรควบคุมในตัว (Intergral control circuit)สวิทซ์ลูกลอย 2 ลูก ที่สามารถทำงานได้ที่ระดับแรงดันไฟฟ้าและสามารถทำงานได้เองโดยอัตโ...
- วิธีการติดตั้ง icon app ppy สำหรับลูกค้าที่อยากเข้าเว็บ PPY ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสิร์ชให้เสียเวลาสามารถติดตั้ง เว็บ PPY ไว้ที่หน้าจอมือถือของลูกค้าได้เลยสามารถทำได้ทั้ง ...