คู่มือการใช้งานเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ Manual

คู่มือการบำรุงรักษา
สำหรับ
เครื่องเติมอากาศใต้น้ำ

“TSURUMI” SUBMERSIBLE EJECTOR / AERATOR

คู่มือการใช้งาน EJECTOR BER Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, ปั๊มเรซิน, ปั๊มไทเทเนียม, ปั๊มแช่สูบน้ำเสีย, ปั๊มแช่, ปั๊มจุ่ม, ไดโว่, BER Series, 8-BER4, 15-BER3, 22-BER5, 37-BER5, 55-BER
คู่มือการใช้งาน AERATOR TRN Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

การใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ “ซูรูมิ”

                เพื่อให้เครื่องเติมอากาศใต้น้ำอยู่ในสภาพที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนเริ่มเดินเครื่องเติมอากาศ ควรศึกษาคู่มือฉบับนี้ก่อนให้เข้าใจและโปรดปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ตามคำแนะนำ

 

ถ้าหากมีปัญหาประการใด โปรดสอบถาม ฝ่ายบริการซูรูมิของทางห้างฯ ได้

 

1.  ส่วนประกอบของเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ

EJECTOR (BER Series)

คู่มือการใช้งาน EJECTOR BER Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, ปั๊มเรซิน, ปั๊มไทเทเนียม, ปั๊มแช่สูบน้ำเสีย, ปั๊มแช่, ปั๊มจุ่ม, ไดโว่, BER Series, 8-BER4, 15-BER3, 22-BER5, 37-BER5, 55-BER

AERATOR (TR/TRN Series)

คู่มือการใช้งาน AERATOR TRN Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

 ข้อมูลจำเพาะของเครื่องเติมอากาศ

Name Model DIA. Of AirPipe (mm) Phase Starting
Method
Output
(kw)
AirEmission
(m3/h)
Water
Depth
(m)
Water
DepthLimit
(m)
Weight
(kg)
EJECTOR  8-BER2  25  3 Direct-on-line  0.75  11/9  3  4  28
 15-BER2  32  3 Direct-on-line  1.5  28/24  3  4  45
 22-BER4  50  3 Direct-on-line  2.2  45/38  3  4.5  75
 37-BER4  50  3 Direct-on-line  3.7  80/70  3  5  91
 55-BER4  50  3 Direct-on-line  5.5  120/105  3  6  151
AERATOR  8-TR2  32  3 Direct-on-line  0.75  11  3  3.2  60
 15-TR2  32  3 Direct-on-line  1.5  25  3  3.2  70
 22-TR2  50  3 Direct-on-line  2.2  36  3  3.6  170
 37-TR2  50  3 Direct-on-line  3.7  60  3  3.6  180
 55-TR2  50  3 Direct-on-line  5.5  90  3  3.6  220
 75-TR2  80  3 Direct-on-line  7.5  125  3  4.1  240
 110-TR2  80  3  Star-Delta  11  200  3  4.7  280
 150-TR2  80  3  Star-Delta  15  260  3  4.7  290
 190-TR2  100  3  Star-Delta  19  330  3  5  520
 220-TR  100  3  Star-Delta  22  400  3  5  530
 8-TRN2  32  3 Direct-on-line  0.75  8  3  3.2  60
 15-TRN2  32  3 Direct-on-line  1.5  22  3  3.2  70
 22-TRN2  50  3 Direct-on-line  2.2  32  3  3.6  170
 37-TRN2  50  3 Direct-on-line  3.7  54  3  3.6  180
 55-TRN2  50  3 Direct-on-line  5.5  80  3  3.6  220
 75-TRN2  80  3 Direct-on-line  7.5  112  3  4.1  240
 110-TRN2  80  3  Star-Delta  11  175  3  4.7  280

 

2.  การตรวจสอบก่อนใช้งาน

                2.1  ตรวจสภาพเครื่องเติมอากาศจนแน่ใจว่าไม่มีส่วนใดชำรุดเสียหาย เนื่องจากการขนส่งหรือ การติดตั้งเครื่องเติมอากาศ

                2.2 ห้ามทิ้งปลายสายไฟลงน้ำ หรือ ยกตัวเครื่องเติมอากาศด้วยสายไฟที่ติดมากับตัวเครื่องเติมอากาศ ซึ่งอาจทำให้น้ำเข้าเครื่องเติมอากาศ หรือทำให้สายไฟขาด และจะเป็นสาเหตุทำให้มอเตอร์ไหม้ได้

                2.3 ในกรณีที่สายไฟจากตัวเครื่องเติมอากาศมีความยาวไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องต่อสายไฟอย่าต่อขั้วสายไฟบริเวณที่น้ำอาจท่วมถึง เพราะจะทำให้ไฟฟ้าลัดวงจรได้ ความยาวสายไฟให้ใช้แต่เพียงพอเท่านั้น อย่าใช้สายไฟยาวเกินความจำเป็น และให้ใช้ขนาดที่พอเหมาะ ถ้าสายไฟยาวเกินไปอาจทำให้แรงดันต่ำเกินไป ทำให้ไม่สามารถสตาร์ทมอเตอร์ได้

 

3.  การเดินเครื่อง

                3.1  การต่อขั้วสายไฟ ตามตารางด้านล่าง สายไฟจากตัวมอเตอร์จะเป็นดังนี้

สาย U, Z สีแดง
สาย V, X สีขาว
สาย W, Y สีดำ
สายดิน G สีเขียว
สาย Motor Protector (MTP) สีเหลือง
สายจาก Leake Sensing Electrode สีขาว (ขนาดเล็ก)

 

 

รูปแสดง  ขั้วต่อสายไฟของเครื่องเติมอากาศใต้น้ำ
คู่มือการใช้งาน, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower
สตาร์ทแบบ Direct-on-line (7.5 kw. หรือ ต่ำกว่า)

คู่มือการใช้งาน, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower
สตาร์ทแบบ Star-Delta (11 kw. ขึ้นไป)
 

                3.2  ทิศทางการหมุนของใบพัด  ถ้าการต่อสายถูกต้องตามรูปแบบ การหมุนของใบพัดก็จะหมุนในทิศทางที่ถูกต้อง คือ หมุนทวนเข็มนาฬิกา ถ้าดูจากทางด้านล่างของตัวเครื่องเติมอากาศ ถ้าหากการหมุนของใบพัดผิดทิศทาง ให้สลับเฟสจากแหล่งจ่ายไฟฟ้า 2 สายใดในจำนวน 3 สาย(R, S, T)   หรือ   (U, V, W)
 
                3.3  เนื่องจากมอเตอร์ชนิดนี้ เป็นชนิดที่ต้องแช่น้ำตลอดเวลา ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องต่อสายดิน (Ground) สายดินของเครื่องเติมอากาศจะเป็นสีเขียว

                3.4 ระบบป้องกันมอเตอร์ไหม้จากความร้อน มีอุปกรณ์ติดตั้งไว้สำหรับหยุดการทำงานของมอเตอร์ ในกรณีที่ขดลวดของมอเตอร์ร้อนเกินไปอันเนื่องจากการทำงานผิดปกติ หรือเกินกำลังมอเตอร์ ซึ่งจะสั่งตัดการทำงานของมอเตอร์ที่อุณหภูมิ 1150C  ±50C
 
         - โดยขนาดของมอเตอร์ 7.5 kw. หรือต่ำกว่า จะใช้ Circle Thermal Protector (CTP) เมื่อมอเตอร์เย็นลง เครื่องจะทำงานโดยอัตโนมัติ ทำให้มอเตอร์สตาร์ทเครื่องเอง
 
         - และขนาดของมอเตอร์ 11 kw. ขึ้นไป จะใช้ Miniature Thermal Protector (MTP) มีในมอเตอร์ที่สตาร์ทแบบ
Star-Delta และมีหลักการทำงานคล้าย CTP ตัดการทำงาน ของมอเตอร์ด้วยความร้อน โดยจะส่งสัญญาณให้ไปตัดวงจรการทำงานของมอเตอร์ที่ตู้ควบคุมไฟฟ้า ถ้าต้องการให้ทำงาน ต้องกดปุ่ม RUN,ON ที่ตู้ควบคุม (ก่อนที่จะสตาร์ทมอเตอร์ ควรจะตรวจสอบว่ามีสาเหตุอะไรที่ทำให้มอเตอร์เกิดความร้อนสูง)

4.  การตรวจสภาพเครื่องเติมอากาศ

            ระยะที่ต้องตรวจ และหลักการตัดสินว่าเครื่องเติมอากาศทำงานปกติหรือไม่ ในระหว่างการทดสอบในสถานที่ใช้งาน (Field Test) หรือการทำงานประจำวัน มีดังต่อไปนี้

                4.1 ตรวจสอบระบบหล่อลื่นน้ำมัน ตรวจสภาพทุกๆ 6 เดือน และเปลี่ยนทุกๆ 1 ปี ถอด Oil Plugของเครื่องเติมอากาศ เทน้ำมันออก ถ้าพบว่ามีน้ำผสมอยู่ในน้ำมัน (สังเกตได้โดยน้ำมันจะมีสภาพผิดปกติ) ซีลของเพลามีความจำเป็นต้องเปลี่ยน ถ้าน้ำมันที่เทออกมาแล้วอยู่ในสภาพปกติ ให้เติมน้ำมันใหม่ในปริมาณที่กำหนดไว้ แล้วทำการอุดด้วย Oil Plug
(น้ำมันที่ใช้Turbine Oil ISO VG 32) ให้เปลี่ยนซีลยาง (O-Ring) ของ Oil Plug ด้วยถ้าพบว่าชำรุด

                4.2 ถ้าสมรรถนะของตัวเครื่องเติมอากาศลดลง อาจจะเป็นเพราะว่าใบพัดของตัวเครื่องเติมอากาศสึกกร่อน หรือมีขยะอุดตันที่ใบพัด ถ้าเป็นเช่นนี้ให้ถอดใบพัดและเอาขยะที่อุดตันออก

                4.3 การตรวจสอบเครื่องเติมอากาศ และระบบท่อส่ง

                  4.3.1 ตรวจเครื่องเติมอากาศ : ตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง และทำงานตามที่ระบุไว้ที่เครื่อง

                  4.3.2  ตรวจใบพัดของเครื่องเติมอากาศ : ไม่ตันและไม่สึกกร่อน

5.  การตรวจสอบระบบไฟฟ้า (ตามปกติ)

                5.1  ตรวจแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า ว่าจ่ายแรงดันและกระแสไฟฟ้าตามปกติหรือไม่

                5.2  ตรวจขนาดของฟิวส์ได้ตามขนาดที่ต้องการหรือไม่ ควรมีฟิวส์สำรองไว้ในตู้ควบคุม

                5.3  ตรวจขนาดและค่าต่างๆ ของอุปกรณ์ภายในตู้ควบคุม ตั้งได้ค่าและตำแหน่งที่ถูกต้องหรือไม่ (เช่น พวกเทอร์มอล รีเลย์ ฯลฯ)

                5.4  ตรวจสภาพของฉนวนไฟฟ้าของขดลวดพันมอเตอร์โดยใช้ Megger Tester ให้ถอดสายไฟฟ้าของตัวเครื่องเติมอากาศออกจากตู้ควบคุมก่อนทำการตรวจวัดทุกครั้ง โดยวัดสภาพของฉนวนระหว่างสายไฟฟ้ากับสายดิน ค่าที่วัดได้ต้องมีค่าตั้งแต่ 10 Megohm ขึ้นไป มอเตอร์จึงจะอยู่ในสภาพใช้งานได้ ถ้าค่าที่วัดได้ต่ำกว่า 10 Megohm จะต้องทำการถอด Motor และทำการซ่อมแซม การตรวจสภาพฉนวนไฟฟ้า ควรตรวจทุก 3 เดือน

6.  ลักษณะการกระจายอากาศ

AERATOR
คู่มือการใช้งาน AERATOR TRN Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

Model  Main converction  Sub-convection flow Water depth limit (m)
 8-TR2  1.2  2.0  3.2
 15-TR2  1.5  2.5  3.2
 22-TR2  2.5  5.0  3.6
 37-TR2  3.0  6.0  3.6
 55-TR2  3.5  7.0  3.6
 75-TR2  4.5  9.0  4.1
 110-TR2  5.0  10.0  4.7
 150-TR2  5.5  11.0  4.7
 190-TR2  6.0  12.0  5.0
 220-TR2  6.0  12.0  5.0
 8-TRN2  1.0  1.8  3.2
 15-TRN2  1.4  2.4  3.2
 22-TRN2  2.3  4.7  3.6
 37-TRN2  2.8  5.7  3.6
 55-TRN2  3.3  6.7  3.6
 75-TRN2  4.3  8.6  4.1
 110-TRN2  4.8  9.6  4.7

 EJECTOR
คู่มือการใช้งาน EJECTOR BER Series, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

Model Tank Dimension
Max. Length (m) Max. Width (m) Water Depth limit (m)
8-BER 3 2 4
15-BER 4 3.5 4
22-BER 5 5 4.5
37-BER 6 6 5
55-BER 7 7 6

7.  ปริมาณน้ำมันภายใน OIL CHAMBER

Model Oil Quantity (mi)
8-BER 420
15-BER2 900
22-BER,  37-BER4 1,450
55-BER4 4,300
8-TR2, 15TR2
8-TRN2, 15-TRN2
1,700
22-TR2, 37TR2
22-TRN2, 37-TRN2
6,000
55-TR2, 75TR2, 110-TR2
55-TRN2, 75-TRN2, 110-TRN2
6,000
150-TR2 6,000
190-TR, 220-TR 10,000

 รูปแสดง ตำแหน่ง OIL
คู่มือการใช้งาน, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

- ตรวจดูสีน้ำมัน ทุกๆ 6,000 ชั่วโมง หรือ 1 ปี
- เปลี่ยนน้ำมัน ทุกๆ 9,000 ชั่วโมง หรือ 2 ปี

น้ำมันหล่อลื่นที่ใช้

MOBIL DTE OIL LIGHT
SHELL

TURBO OIL T32
TERRUS OIL T32

ESSO TURBINE OIL L

8.  เหตุขัดข้องและวิธีแก้ไข  EJECTOR, AERATOR

ข้อผิดพลาด สาเหตุ วิธีแก้ไข
มอเตอร์ไม่หมุน   
  1. ไฟไม่เข้ามอเตอร์
  2. ไฟมาไม่สะดวก
  3. Proctector ตัดมอเตอร์ร้อน
  4. ใบพัดติดแน่นกับ Suction Cover
  5. แบริ่งแตก
  6. Control Circuit
 
  1. ตรวจระบบไฟฟ้า สวิทซ์เปิด
  2. ทำความสะอาด Megnetic Contector
  3. ตรวจหาสาเหตุกับภาระที่ Motor  ทำงาน
  4. ปรับแต่งให้ห่าง
  5. เปลี่ยนแบริ่งใหม่
  6. เช็คใหม่

EJECTOR, AERATOR

หยุดทำงาน
  1. ไม่มีไฟมา
  2. ไฟมาไม่ครบ Volt
  3. ความถี่ของไฟไม่เท่ากับมอเตอร์
  4. Proctector ตัดมอเตอร์ร้อน
  5. ใบพัดและ Suction Cover ไม่สะอาด
  6. แบริ่งแตก
  1. เช็คระบบไฟ
  2. ทำความสะอาด Connection
  3. ใช้ไฟขนาด 50 Hz.
  4. ไฟเกิดการลัดวงจร
  5. ปรับระยะห่างด้วยแหวน หรือ Seal
  6. เปลี่ยนแบริ่งใหม่

EJECTOR, AERATOR

เติมอากาศได้น้อย

  1. Volt  ไม่ถูกต้อง (220/380)
  2. มีสิ่งกีดขวางใบพัด
  3. ที่กรองมีโคลน หรือขยะอุดตัน
  4. Voltage Drop สายไฟยาวไป
  5. ข้อต่อสายไฟสกปรก
  1. เปลี่ยนปั๊ม
  2. จัดการนำเอาสิ่งกีดขวางออก
  3. ฉีดล้างทำความสะอาด
  4. ใช้สายไฟใหญ่ขึ้น
  5. ทำความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม่

 

รูปแสดง ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องเติมอากาศ

EJECTOR (BER)
คู่มือการใช้งาน EJECTOR BER Series,spare part,  อะไหล่, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower
คู่มือการใช้งาน EJECTOR BER Series,spare part,  อะไหล่, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

รูปแสดง ส่วนต่างๆ ของเครื่องเติมอากาศ

AERATOR (TR, TRN)

คู่มือการใช้งาน AERATOR  TRN Series,spare part,  อะไหล่, tsurumi, ปั๊มดูดโคลน, ซูรูมิ, submersible pump, ปั๊มน้ำเสีย, ปั๊มน้ำทิ้ง, ปั๊มทนการกัดกร่อน, อุปกรณ์ป้องกันน้ำเสีย บำบัดน้ำเสีย, ปั๊มน้ำเสียทั่วไป, ปั๊มสูบน้ำที่มีทรายปน, ปั๊มดูดน้ำลึก, ปั๊มระบายน้ำ, ปั๊มสแตนเลส, ปั๊มงานก่อสร้าง, สวิทช์ลูกลอย, Float switch, Blower, three lobe blower

             - ดังรูป เป็นแนวทางในการถอดชุด IMPELLER SUCTION COVER ในการเอาสิ่งสกปรกออก

             - ห้อง OIL CHAMBER และห้อง MOTOR ทางบริษัทฯ ไม่แนะนำให้ถอดออก เนื่องจากลักษณะการถอดต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ

 


  • คู่มือการบำรุงรักษาสำหรับเครื่องสูบน้ำเสีย “TSURUMI” SUBMERSIBLE PUMPการใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำเสีย “ซูรูมิ” เพื่อให้เครื่องสูบน้ำเสียแบบจุ่มใต้น้ำอยู่ในสภาพที่สามารถใ...

  • ออกแบบง่ายๆแต่สูงด้วยคุณภาพ • จุดต่อสายไฟ (Cable Entry) สายไฟที่เชื่อมต่อกับตัวปั๊มจะมีตัวบล็อค เพื่อป้องกันการดูดซึมน้ำเข้าสู่สายไฟ โดยกลไกส่วนนี้เป็นส่วนที่ประกอบด้วยยางที่หล่อ...

  • ลักษณะใบพัดหลักปั๊มซูรูมิCHANNEL ใบพัดเป็นแบบกึ่งเปิด (Semi-open) ที่มีใบพัดเดี่ยวโดยมีช่องกว้างที่ต่อเชื่อมจากทางเข้าถึงทางออก โครงสร้างใบพัดลักษณะนี้จะช่วยให้ปั๊มสามารถสูบตะกอนจ...

  • ระบบติดตั้งเครื่องสูบน้ำเสียแบบมีรางเลื่อน (Guide Rail Fitting System)สามารถเชื่อมต่อเครื่องสูบน้ำกับท่อน้ำเสีย ทั้งท่อส่งน้ำเสีย และท่อรับน้ำเสียได้เพียงแค่หย่อนเครื่องสูบน้ำลงไ...

  • รุ่นอัตโนมัติ (Automatic Models) รุ่นอัตโนมัติ จะมีระบบวงจรควบคุมในตัว (Intergral control circuit)สวิทซ์ลูกลอย 2 ลูก ที่สามารถทำงานได้ที่ระดับแรงดันไฟฟ้าและสามารถทำงานได้เองโดยอัตโ...

  • วิธีการติดตั้ง icon app ppy สำหรับลูกค้าที่อยากเข้าเว็บ PPY ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสิร์ชให้เสียเวลาสามารถติดตั้ง เว็บ PPY ไว้ที่หน้าจอมือถือของลูกค้าได้เลยสามารถทำได้ทั้ง ...
Visitors: 223,605